โรคไข้หวัดใหญ่และไข้หวัดนก


นพ.ทวี โชติพิทยสุนนท์
Queen Sirikit National Child Health Institute

        ไข้หวัดใหญ่เป็นโรคติดเชื้อไวรัสที่พบได้บ่อยมากในมนุษย์ทุกอายุ ทุกเพศ ทุกภูมิภาคของโลก จนกระทั่งในหลายปีที่ผ่านมามีโรคติดเชื้อจากไวรัสไข้หวัดใหญ่ของสัตว์ปีกชนิดใหม่ที่แพร่มาสู่คนเป็นครั้งแรกคือ เชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ชนิด A / H5N1 ซึ่งมีความรุนแรงมาก ในที่นี้จึงขอกล่าวข้อเปรียบเทียบไข้หวัดใหญ่และไข้หวัดนกดังต่อไปนี้

 
ไข้หวัดใหญ่
ไข้หวัดนก
1. ระบาดวิทยา
ทั่วโลก
บางภูมิภาค
2. ไวรัสวิทยา
Influenza A, B
A ชนิด H3N2, H1N1, B
Influenza A
A ชนิด H5N1, H7N7, H9N2 etc.
3. Viral Shedding
สั้นกว่า
ยาวกว่า
4. Viral replication
upper respiratory tract
lower respiratory tract
5. พยาธิสภาพ
ทำลายเยื่อบุผิวทางเดินหายใจ
proinflammatory cytokines
6. อาการทางคลินิก    
ระยะฟักตัว
1-3 วัน
2-5 วัน (8-17 วัน)
ไข้
พบบ่อย
พบบ่อย
ไอ หอบ
พบไม่บ่อย
พบบ่อย
ปอดบวม
พบไม่บ่อย
พบบ่อย
ท้องเสีย
พบไม่บ่อย
พบบ่อย
ARDS
พบไม่บ่อย
พบบ่อย
multi organ Involvement
พบไม่บ่อย
พบบ่อย
อัตราตาย
0.1%
30-70%
7. ผลทางห้องปฏิบัติการ    
Leucopenia ( < 5,000)
พบไม่บ่อย
พบบ่อย
Lymphocytopenia ( < 500)
พบไม่บ่อย
พบบ่อย
Thrombocytopenia ( < 150,000)
พบไม่บ่อย
พบบ่อย
Rapid test
ความไวสูง (80-90%)
ความจำเพาะสูง (90%)
ความไวต่ำ (36%)
ความจำเพาะ (ไม่ทราบ)
รังสีทรวงอก
interstitial
lobar, multifocal,
ARDS
8. การรักษา    
ห้องแยก
ไม่จำเป็น
จำเป็น
PPE
ไม่จำเป็น
จำเป็น
ยาต้านไวรัส
ได้ผล
ได้ผล
9. การป้องกัน    
Pre-exposure prophylaxis
ไม่แนะนำ
ไม่แนะนำ
Post-exposure prophylaxis
ไม่แนะนำ
่แนะนำ
วัคซีน
มีใช้แล้ว
ยังไม่มีใช้
10. ความสามารถในการระบาดใหญ่    
(Pandemic)
ไม่มี
มี

<<back